CED2
  • Home
  • EVENTS
  • CED-Square on The Press
  • PROJECTS
    • Medical Innovations
    • Automotive Innovations
    • Agricultural Innivations
  • publications and patents
    • Conference
    • Journal Publications
    • Patents
  • ABOUT
  • Contact
  • Home
  • EVENTS
  • CED-Square on The Press
  • PROJECTS
    • Medical Innovations
    • Automotive Innovations
    • Agricultural Innivations
  • publications and patents
    • Conference
    • Journal Publications
    • Patents
  • ABOUT
  • Contact

Student Innovation Challenge: รอบคัดตัวแทนประเทศไทย 10 ทีม

7/7/2017

0 Comments

 
   ทีมสิ่งประดิษฐ์ มธ. ได้รับคัดเลือกเป็น 2 ใน 10 ทีม ตัวแทนประเทศไทย ไปญี่ปุ่น   
          ในการคัดเลือกตัวแทนประเทศไทย เพื่อนำผลงานเกี่ยวกับอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ ไปประกวดในรายการ Global Student Innovation Challenge for Assistive Technology ในงานประชุมวิชาการนานาชาติ i-CREATe 2017 ที่ โกเบ ประเทศญี่ปุ่น
               สำหรับประเทศไทย มีทีมส่งเข้าประกวด มากกว่า 35 ทีม จากมหาวิทยาลัย และสถานศึกษาทั่วประเทศ โดยรอบที่ 1 จัดเมื่อวันที่ 6 มิย 2017 นำเสนอเป็นภาษาไทย  และรอบที่ 2 จัดเมื่อวันที่  7 กค 2017 นำเสนอเป็นภาษาอังกฤษ
                 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการออกแบบและพัฒนาต้นแบบทางวิศวกรรมอย่างสร้างสรรค์ (CED-Square) ได้ส่งเข้าประกวด 3 ผลงาน คือ
                   1. Smart Trike สำหรับ เด็กพิการทางสมอง
                   2. Space Walker เป็น walker ที่สามารถปรับ Body Weight Support ได้
                  3. Sit2Stand   อุปกรณ์ออกกำลังกายที่ออกแบบมาเพื่อผู้อายุโดยเฉพาะ

                  สุดท้าย ทีมของ ธรรมศาสตร์ ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนประเทศไทย 2 ทีม จาก 10 ทีม คือ ทีม Space Walker และ Sit2Stand  ยังเหลืออีกเวลา เดือนกว่าๆ หลังจากนี้คงต้องปรับปรุงงานให้พร้อมเพื่อการแข่งขันที่ ญี่ปุ่น ครับ

            ในขณะที่ นศ. ส่วนใหญ่ พักผ่อนช่วงปิดเทอม หรือไม่ก็ฝึกงาน แต่มี นศ. กลุ่มหนึ่ง ต้องทำงานแข่งกับเวลา เพื่อสร้างผลงาน เพื่อชื่อเสียงของประเทศ และของมหาวิทยาลัย เพื่อนำผลงานไปเผยแพร่ให้ประเทศผู้นำทางด้านเทคโนโลยีเพื่อคนชรา อย่างญี่ปุ่น ได้รู้ว่า ผลงานของเด็กไทยก็มีดีเหมือนกัน
          ตัวแทน 10 ทีม มี 7 ทีมเป็นสาขาเทคโนโลยี และ 3 ทีมเป็นการออกแบบ จะเห็นได้ว่า ใน 7 ทีมเทคโนโลยี มีแค่ 3 มหาวิทยาลัยเท่านั้น คือ จุฬา มหิดล และธรรมศาสตร์ อยากจะบอกว่า งานวิจัยทางด้าน Assistive และ Rehab เทคโนโลยี ธรรมศาสตร์สามารถปักหมุดอยู่ในแถวหน้าระดับประเทศได้แล้ว
        ขอบคุณ นศ. ทุกคนอีกครั้ง สำหรับการเสียสละในการทำงานเพื่อสร้างชื่อเสียงให้ประเทศและมหาวิทยาลัย แน่นอนว่า เราจะพัฒนาสิ่งที่เราประดิษฐ์ขึ้นให้นำไปสู่การใช้งานจริงให้ได้ เหมือนกับที่เราเคยทำมา
เป็น นศ. ของผม ต้องอดทน ครับ
Cr. ผศ.ดร. บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ อาจารย์ที่ปรึกษา
ผศ.ดร. ศุภชัย วรพจน์พิศุทธิ์ อาจารย์ที่ปรึกษา

0 Comments



Leave a Reply.

    Archives

    November 2022
    September 2022
    July 2022
    June 2022
    April 2022
    March 2022
    February 2022
    August 2021
    June 2021
    February 2021
    January 2021
    November 2020
    October 2020
    September 2020
    August 2020
    June 2020
    February 2020
    December 2019
    September 2019
    July 2019
    May 2019
    April 2019
    March 2019
    February 2019
    December 2018
    November 2018
    September 2018
    August 2018
    July 2018
    May 2018
    April 2018
    March 2018
    February 2018
    November 2017
    September 2017
    August 2017
    July 2017
    June 2017
    May 2017
    March 2017
    February 2017
    January 2017
    December 2016
    November 2016
    September 2016
    August 2016
    July 2016
    June 2016
    April 2016
    March 2016
    February 2016
    January 2016
    December 2015
    November 2015
    August 2015
    May 2015
    April 2015
    February 2015
    December 2014
    November 2014
    September 2014
    April 2014
    March 2013
    February 2013
    January 2013
    December 2012
    July 2012

We Would Love to Have You Visit Soon!


Hours

M-F: 7am - 7pm

Telephone

+66-(0)-2564-3001 ถึง 9 ต่อ 3247

Email

rbunyong@engr.tu.ac.th