มาอีกแล้วครับ ผลงานนวัตกรรมทางด้ายยานยนต์ของนักศึกษา จากศูนย์ CED-Square (Creative Engineering Design and Development) เนินชะลอความเร็วอัจฉริยะ ถ้ามองในมุมมองการพัฒนาการเรียนการสอนทางวิศวกรรม การสร้างนวัตกรรมขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาต่างๆในสังคม ถือว่าตอบโจทย์ทุกอย่างในการเรียนการสอนที่เรียกว่า Active Learning และ การเรียการสอนในศตวรรษที่ 21 ภายใต้การทำงานอย่างหนักและใกล้ชิดของอาจารย์ที่ปรึกษา Cr. อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน รศ.ดร. ดุลยโชติ ชลศึกษ์ ได้รับเชิญจากทางมหาวิทยาลัย ให้ไปร่วมพูดคุย เกี่ยวกับประเด็น สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร เพื่อประโบชน์สำหรับอาจารย์ธรรมศาสตร์ที่สนใจ สัมมนาการจัดการความรู้ มธ. (KM Series) ครั้งที่ 3 เรื่อง การจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตรและการจดลิขสิทธิ์ผลงานสร้างสรรค์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน 2559 วิทยากรโดย... 1) รศ.ดร.เจียรนัย เล็กอุทัย ผู้อำนวยการศูนย์ทรัพย์สินทางปัญญาและบ่มเพาะวิสาหกิจ 2) ผศ.ดร.บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ 3) อ.อุรุพงศ์ รักษาสัตย์ อาจารย์ประจำคณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน ดำเนินการอภิปรายโดย.... ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา (ผศ.ดร. ธีระ สินเดชารักษ์) อีกหนึ่งผลงานนวัตกรรม ทางด้านยานยนต์ จากศูนย์ CED-Square (Creative Engineering Design and Development) จาก นศ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล วิศวะธรรมศาสตร์ โดยมี รศ.ดร. ดุลยโชติ ชลศึกษ์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา "นวัตกรรมเพื่อผู้ป่วยอัมพาตครึ่งซีก" ถูกกว่าอุปกรณ์นำเข้าจากตปท. หลายเท่า คาดจะช่วยขยายโอกาสให้ผู้ป่วยสามารถเข้าถึงกายทำกายภาพบำบัด |
|
HoursM-F: 7am - 7pm
|
Telephone+66-(0)-2564-3001 ถึง 9 ต่อ 3247
|
|