CED2
  • Home
  • EVENTS
  • CED-Square on The Press
  • PROJECTS
    • Medical Innovations
    • Automotive Innovations
    • Agricultural Innivations
  • publications and patents
    • Conference
    • Journal Publications
    • Patents
  • ABOUT
  • Contact
  • Home
  • EVENTS
  • CED-Square on The Press
  • PROJECTS
    • Medical Innovations
    • Automotive Innovations
    • Agricultural Innivations
  • publications and patents
    • Conference
    • Journal Publications
    • Patents
  • ABOUT
  • Contact

CP Smart Bike: นารีกระจ่าง

8/25/2016

0 Comments

 
Picture
0 Comments

CP Smart Bike

8/21/2016

0 Comments

 
Picture
0 Comments

เตียงพลิกตะแคงระบบไฟฟ้า: Health Channel

8/4/2016

0 Comments

 
Picture
การพลิกตะแคงตัวในผู้ป่วยติดเตียงที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ นับเป็นความยากลำบากของทั้งพยาบาลและญาติผู้ดูแล และหากทำการพลิกตะแคงตัวผิด ยิ่งเป็นการเพิ่มความรุนแรงของปัญหาเรื่องแผลกดทับ.
นี่จึงเป็นแรงบันดาลใจให้กับ ผศ.จิณพิชญ์ชา มะมม อาจารย์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่เคยเป็นพยาบาลและได้คลุกคลีอยู่กับปัญหาเหล่านี้ในโรงพยาบาล ได้คิดค้นนวัตกรรมเพื่อรองรับสำหรับผู้ป่วยแผลกดทับและลดภาระของผู้ดูแล ซึ่งทำงานร่วมกับทีมคณาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์    
  

Read More
0 Comments

มธ. โชว์ 2 นวัตกรรมฟื้นฟู 'ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว' หลังพบสถิติผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ปี

8/1/2016

0 Comments

 
Picture


​ธรรมศาสตร์ เปิดตัว 2 นวัตกรรมฟื้นฟูรักษาผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ได้แก่ "นวัตกรรมชุดถอดประกอบรถเข็นคนพิการแบบใช้ไฟฟ้า" และ "นวัตกรรมเครื่องช่วยฝึกเดินด้วยการช่วยพยุงน้ำหนักบางส่วน" ช่วยเหลือผู้พิการที่มีรายได้น้อย เผยสถิติผู้พิการทางการเคลื่อนไหวของไทยในปัจจุบัน มีจำนวนสูงถึง 857,655 คน

Picture

​วันที่ 1 สิงหาคม 2559  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บรรยงค์ รุ่งเรืองด้วยบุญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ที่ปรึกษาโครงการ กล่าวว่า ปัจจุบันประเทศไทยมีผู้พิการทางการเคลื่อนไหว จำนวนสูงถึง 850,740 คน ซึ่งผู้พิการส่วนใหญ่นอกจากจะสูญเสียความสามารถทางร่างกายแล้ว ยังมีความยากลำบากในการเคลื่อนไหวโดยไม่สามารถเดินทางไปที่ไกล ๆ ด้วยตนเองได้ ในขณะเดียวกันจำนวนบุคลากรทางการแพทย์ด้านการฟื้นฟูและกายภาพบำบัดในประเทศไทยก็มีอยู่จำกัด ประกอบกับมีค่าใช้จ่ายสูง อันเนื่องมาจากต้นทุนในการนำเข้าอุปกรณ์จากต่างประเทศที่มีราคาสูงถึง 4-10 ล้านบาท จึงส่งผลกระทบให้ผู้ป่วยที่มีรายได้น้อยขาดโอกาสในการฟื้นฟูร่างกายดังนั้น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันการศึกษาที่มุ่งศึกษาวิจัย ค้นคว้า และพัฒนานวัตกรรมที่ทันสมัยและเอื้อประโยชน์แก่สังคม จึงได้คิดค้นต้นแบบนวัตกรรมที่ผู้พิการสามารถเข้าถึงการฟื้นฟูรักษาได้ในราคาประหยัด

Read More
0 Comments

    Archives

    October 2021
    September 2021
    August 2021
    July 2021
    May 2021
    March 2021
    February 2021
    January 2021
    December 2020
    September 2020
    August 2020
    July 2020
    February 2020
    January 2020
    October 2019
    September 2019
    June 2019
    December 2018
    November 2018
    October 2018
    September 2018
    August 2018
    July 2018
    May 2018
    February 2018
    January 2018
    December 2017
    November 2017
    October 2017
    September 2017
    August 2017
    June 2017
    March 2017
    January 2017
    December 2016
    November 2016
    August 2016
    July 2016
    June 2016
    May 2016
    April 2016
    March 2016
    January 2016
    December 2015
    October 2015
    September 2015
    May 2014
    May 2013
    February 2013
    January 2013
    July 2012
    May 2012
    March 2012
    October 2009
    June 2009
    December 2008
    June 2008
    December 2007

    RSS Feed

We Would Love to Have You Visit Soon!


Hours

M-F: 7am - 7pm

Telephone

+66-(0)-2564-3001 ถึง 9 ต่อ 3247

Email

rbunyong@engr.tu.ac.th